แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่

ข้อข้อมูลองค์ประกอบด้านข้อมูลหมายเหตุ
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลพื้นฐาน
O1โครงสร้าง– แสดงแผนผังแสดงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงานที่เป็นปัจจุบัน
– แสดงตำแหน่งที่สําคัญ และการแบ่งส่วนงานภายใน อย่างน้อยประกอบด้วย กลุ่ม/หน่วยในหน่วยงาน ก.ต.ป.น. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาเป็นต้น
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/about/structure_spm/
O2ข้อมูลผู้บริหาร– แสดงข้อมูลของผู้บริหารสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่ง
ทางการบริหารของหน่วยงาน อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ผู้บริหารสูงสุด
(2) รองผู้บริหารสูงสุด
– แสดงข้อมูลของผู้บริหารแต่ละคน อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ชื่อ-นามสกุล
(2) ตำแหน่ง
(3) รูปถ่าย
(4) ช่องทางการติดต่อ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/personal/director/
O3อำนาจหน้าที่– แสดงข้อมูลเฉพาะที่อธิบายถึงหน้าที่และอำนาจ
ของหน่วยงาน
*ต้องไม่เป็นการแสดงข้อมูลกฎหมายทั้งฉบับ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/about/authority/
O4ข้อมูลการติดต่อ– แสดงข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน
อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ที่อยู่หน่วยงาน
(2) หมายเลขโทรศัพท์
(3) E-mail ของหน่วยงาน
(4) แผนที่ตั้ง
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/contact/
การประชาสัมพันธ์
O5ข่าวประชาสัมพันธ์– แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของ
หน่วยงาน
– แสดง QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงาน
(ที่ได้รับจาก สพฐ.) ไว้บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลัก
ของหน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการหรือติดต่อ
ราชการมีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการประเมิน ITA
ของหน่วยงาน
– เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/



https://www.facebook.com/profile.php?id=100057456008767&locale=th_TH



https://www.tiktok.com/@prsesaotrangkrabi?_t=8nQiE9pvSzK&_r=1
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
O6Q&A (ถาม-ตอบ)– แสดงช่องทางการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ และ
หน่วยงานสามารถสื่อสารให้คาตอบกับผู้สอบถาม
ได้ โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทาง (Q&A)
ยกตัวอย่างเช่น Messenger Live Chat,
Chatbot, Line official Account, Web board*
– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้
จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
– ไม่รวมถึง E-mail
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/community-2/

https://www.sesatrgkbi.go.th/site/
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ
O7แผนยุทธศาสตร์หรือ แผนพัฒนาหน่วยงาน– แสดงแผนการดำเนินภารกิจของหน่วยงานที่มีระยะ
มากกว่า 1 ปี ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(2) เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์หรือ
แนวทาง
(3) ตัวชี้วัดของเป้าหมายตาม (2)
เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ.
2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o7/
O8แผนและความก้าวหน้าในการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี– แสดงแผนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน
ประจำปี พ.ศ. 2567 ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลผลิตของแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือ
กิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละ
โครงการหรือกิจกรรม
– แสดงผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตาม
แผนการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2567
ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหา
หรือรายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/
กิจกรรม
(2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้
ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ITA2567-O8/
O9รายงานผลการดำเนินงานประจำปี– แสดงผลการดำเนินงานตามแผนดาเนินงาน
ประจ าปี ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/
กิจกรรม
(2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้
จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/
กิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละ
โครงการ/กิจกรรม (ระบุเป็น เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุด
การดำเนินการ)
(4) ปัญหา/อุปสรรค
(5) ข้อเสนอแนะ
– เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o9/
การปฏิบัติงาน
O10คู่มือหรือแนวทาง
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
– แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่
ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(3) ระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน
(4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/standard-office/standard-manual/

https://www.sesatrgkbi.go.th/site/standard-office/ita2567-o10/
O11คู่มือหรือแนวทางให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ– แสดงคู่มือการให้บริการหรือแนวทางการปฏิบัติที่
ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับหน่วยงานใช้เป็น
ข้อมูลในการขอรับบริการหรือติดต่อกับ
หน่วยงาน ที่มีรายละเอียดของแต่ละงาน อย่าง
น้อยประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการให้บริการ
(3) ระยะเวลาแต่ละขั้นตอน
(4) ช่องทางให้บริการ เช่น สถานที่ ส่วนงานที่
รับผิดชอบ E-service One Stop Service
(5) ค่าธรรมเนียม (กรณีไม่มีค่าธรรมเนียม
ให้ระบุว่า “ไม่มีค่าธรรมเนียม”)
(6) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/standard-office/standard-service/
O12ข้อมูลสถิติการให้บริการ– แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการตามภารกิจของ
หน่วยงาน ที่มีรายละเอียดของแต่ละงาน อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) จำนวนผู้รับบริการที่เข้ามารับบริการ ณ
จุดให้บริการ (Walk-in)
(2) จำนวนผู้รับบริการผ่านช่องทาง E-Service
– เป็นข้อมูลสถิติของปี พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/standard-office/statistics_service/
O13E–Service– แสดงระบบการให้บริการ ผ่านช่องทางออนไลน์* ที่
ผู้ขอรับบริการไม่ต้องเดินทางมายังจุดให้บริการ
– แสดงรายละเอียดวิธีการใช้งานระบบการให้บริการ
– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้
จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
* ไม่รวมถึงช่องทางการถาม – ตอบ (Q&A) หรือ
สื่อสารตามปกติแบบออนไลน์ของหน่วยงาน
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/e-money/

http://mis.matthayom13.go.th/myoffice/2567/index.php
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง
O14รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ– แสดงรายการการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานใน
ประเภทงบรายจ่ายหมวดงบลงทุนที่จะมีการ
ดำเนินการในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการ ที่มี
รายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) วิธีการที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดำเนินการ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o14/
O15ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ– แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตาม
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560*
– แสดงประกาศการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกตัวอย่างเช่น
ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง
– เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567
* กรณีไม่มีการจัดจ้างฯ ที่มีวงเงินเกิน 5 แสนบาท
หรือที่กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องเผยแพร่แผนการ
จัดซื้อจัดจ้างฯ ให้หน่วยงานอธิบายเพิ่มเติมโดย
ละเอียด หรือเผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างฯใน
กรณีดังกล่าว
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o15
O16ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ– แสดงความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของ
หน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31
มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจ าตัว
ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
– เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/new-procurement/34407/



https://www.sesatrgkbi.go.th/site/new-procurement/34411/
O17รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี– แสดงรายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของ
หน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) จ านวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนกตาม
วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(2) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนก
ตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ
– แสดงผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มี
รายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจ าตัวผู้เสียภาษี/เลขประจ าตัว
ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/conclusion_procurement/


https://www.sesatrgkbi.go.th/site/
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O18แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล– แสดงแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือ
กิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดาเนินการแต่ละ
โครงการหรือกิจกรรม
– เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร
ทรัพยากรบุคคลและด้านการพัฒนาทรัพยากร
บุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o18/
O19รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี– แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่
มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลการดำเนินการของแต่ละโครงการ/
กิจกรรม
(3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้
จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/
กิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินการ (ระบุ
เป็น เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุดการด าเนินการ)
(5) ข้อมูลสถิติอัตรากำลัง จ าแนกตาม
ประเภทตำแหน่ง
(6) ข้อมูลสถิติจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
หรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(7) ปัญหา/อุปสรรค
(8) ข้อเสนอแนะ
– เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o19/
O20ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ– แสดงประมวลจริยธรรมข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ฉบับปี พ.ศ. 2564
– แสดงแนวทางการประพฤติปฏิบัติตนของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาม
ประมวลจริยธรรมข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนดให้ถือปฏิบัติ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o20/
O21การขับเคลื่อนจริยธรรม– แสดงผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม
ให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด
อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) การจัดตั้งทีมให้คำปรึกษาตอบคำถาม
ทางจริยธรรมหรือคณะทำงานขับเคลื่อนเรื่อง
จริยธรรม โดยให้แสดงเป็นคำสั่งแต่งตั้งที่เป็นทางการ
(2) แนวปฏิบัติ Do’s & Don’ts เพื่อลด
ความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทาและเป็นแนวทาง
ในการประพฤติตนทางจริยธรรม ที่จัดทำขึ้นโดย
หน่วยงาน
(3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรก
สาระด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐในหลักสูตร
หรือ กิจกรรมเสริมสร้าง/ส่งเสริมจริยธรรมที่
ดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o21/
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O22แนวปฏิบัติการจัดการ
เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
– แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่อง
ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของ
เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้เพื่อใช้
ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของผู้ถูกร้อง ช่วงเวลา
การกระทาความผิด พฤติการณ์การทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ
(2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ
(3) ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการเรื่อง
ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
(5) ระยะเวลาดำเนินการ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/corruption_misconduct/practice_anti/
O23ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ– แสดงช่องทางออนไลน์ที่บุคคลภายนอกสามารถ
แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยกต่างหาก
จากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป
– เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูลของผู้แจ้ง
เบาะแส
– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้น
ได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/cate_compliant/send_corruption/
O24ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ– แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มี
รายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) จ านวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
(2) จ านวนเรื่องที่ด าเนินการแล้วเสร็จ
(3) จ านวนเรื่องที่อยู่ระหว่างด าเนินการ
– เป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/corruption_misconduct/statics_anti/
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
O25การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม– แสดงผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วน
ร่วมในการด าเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ที่
มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
(2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
(3) ผลจากการมีส่วนร่วม
(4) การนำผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุง
พัฒนาการด าเนินงานของหน่วยงาน
– เป็นการดำเนินโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o25/
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริตในประเด็นสินบน
O26ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่– เป็นประกาศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ*
อย่างเป็นทางการที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุด ที่
ดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ. 2567
– มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าผู้บริหารและ
เจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงานจะไม่รับ
ของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในขณะ/ก่อน/หลัง
ปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ
– เป็นการประกาศสำหรับปี พ.ศ. 2567
* การประกาศฯ ให้ประกาศในทุกปีงบประมาณ
(ถึงแม้ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานยังเป็นบุคคลเดิม)
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/no-gift/
O27การสร้างวัฒนธรรม
No Gift Policy
– แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลุก
จิตสานึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้เจ้าหน้าที่ในการ
ปฏิเสธการรับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดจาก
การปฏิบัติหน้าที่
– เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุม
การสัมมนา เพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบาย หรือ
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
– เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ.
2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-nogift/
O28รายงานผลตามนโยบาย
No Gift Policy
– แสดงรายงานการรับของขวัญและของกำนัลตาม
นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
สำหรับหน่วยงาน
– เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี
พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o28/
O29รายงานการรับทรัพย์สินบนหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา– แสดงรายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด
โดยธรรมจรรยาสาหรับหน่วยงาน ตามมาตรา
128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า
ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.
2561
– เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี
พ.ศ. 2566
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ethics/
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
O30การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน– แสดงผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริตใน
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดำเนินงาน
หรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วยงาน
อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
(1) การจัดซื้อจัดจ้าง
(2) การบริหารงานบุคคล
– ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริตแต่ละประเด็น
ต้องมีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความ
เสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o30/
O31รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี– แสดงผลการประเมินความเสี่ยงและผลการ
ดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ ประจ าปี พ.ศ. 2566 ที่มี
รายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความ
เสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง
(3) ผลการดำเนินการตามมาตรการหรือการ
ดำเนินการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o31/
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 มาตรฐานส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนป้องกันการทุจริต
O32แผนการปฏิบัติการป้องกันการทุจริต– แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน
จริยธรรม หรือธรรมาภิบาลที่จัดทำโดย
หน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) โครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณแต่ละโครงการ/
กิจกรรม*
(3) ระยะเวลาดำเนินการแต่ละ
โครงการ/กิจกรรม
– เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี
พ.ศ. 2567
*กรณีการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้
งบประมาณ ให้ระบุในแผนว่าไม่ได้ใช้
งบประมาณดำเนินการ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o32/
O33รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี– แสดงผลการดำเนินการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม
หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ผลด าเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ
แต่ละโครงการ/กิจกรรม*
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ
– เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
*กรณีการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้
งบประมาณ ให้ระบุในผลว่าไม่ได้ใช้งบประมาณ
ดำเนินการ
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o33/
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
O34มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน– แสดงผลการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566
– มีข้อมูลรายละเอียดการวิเคราะห์ อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) ประเด็นที่เป็นข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนที่
จะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน
(2) ประเด็นที่จะต้องพัฒนาให้ดีขึ้น ที่มี
ความสอดคล้องกับผลการประเมินฯ
– แสดงการกำหนดวิธีการนำผลการวิเคราะห์แต่ละ
ตัวชี้วัดไปสู่การปฏิบัติ
* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) วิธีการนำผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
(2) การกำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่
เกี่ยวข้อง
(3) การกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
(4) ระยะเวลา
– แสดงการวิเคราะห์ข้อจำกัดของหน่วยงานในการ
ดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
* กรณีหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ เป็น
ครั้งแรก ให้หน่วยงานวิเคราะห์ตามประเด็นที่กำหนด
โดยคำนึงถึงบริบทและการปฏิบัติงานตามภารกิจของ
หน่วยงาน
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o34/
O35รายงานผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน– แสดงผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและ
ความโปร่งใสภายในหน่วยงานตามมาตรการ
ส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายใน
หน่วยงาน* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย
ประกอบด้วย
(1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อ
ส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
(2) สรุปผลการดำเนินการตามมาตรการ
หรือกิจกรรม
(3) ผลลัพธ์หรือความสำเร็จของการ
ดำเนินการ
เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566
กรณีหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ เป็น
ครั้งแรก ให้หน่วยงานรายงานตามประเด็นที่กาหนด
โดยคำนึงถึงบริบทและการปฏิบัติงานตามภารกิจของ
หน่วยงาน
https://www.sesatrgkbi.go.th/site/ita-spm-trang-krabi/ita2567-o35/
ติดต่อเรา